วันศุกร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2554

ประวัติการสื่อสารข้อมูล



ปี พ.. 2538  เทคโนโลยี  โทรเลข    
อุปกรณ์สื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบแรกประดิษฐ์ขึ้น  โดย Samuel Morse ถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางในการส่งข่าวสารชึ่งมาคู่ขนานไปกับทางรถไฟ
ปี พ.. 2417  เทคโนโลยี  Emil Baudot 
สร้ารรหัสแทนข้อมูลชนิดที่มีความยาวคงที่ โดยใช้การส่งสัญญาณ 5    จังหวะ เพื่อใช้แทนตัวอักษร 1 ตัว นับว่าเป็นรหัสแทนข้อมูลที่ใช้งานได้จริงแบบแรก
ปี พ.. 2439 เทคโนโลยี  Marconi   Guglielmo Marconi
เป็นผู้ประดิษฐ์อุปกรณ์การส่งโทรเลขแบบไร้สาย ซึ่งนับว่าเป็นเทคโนโลยีที่แปลกอย่างยิ่งในสมัยนั้นสำหรับการสื่อสารข้อมูล
ปี พ.. 2453 เทคโนโลยี เครื่องโทรพิมพ์   
เป็นอุปกรแบบเดียวกับโทรเลขแต่สามารถพิมพ์ข้อความที่ได้รับลงบนกระดาษได้โดยอัตโนมัติ รู้จักกันทั่วไปในชื่อ TWX และ TELEX
ปี พ.. 2487 เทคโนโลยี Mark-Computer
เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่สามารถใช้งานได้จริง ถูกสร้างขึ้นโดยโดย Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา
ปี พ.. 2489  เทคโนโลยี EMOAC Computer   
เครื่องมือคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่สามารถสั่งงาน  โดยโปรแกรมได้
ปี พ.. 2490  เทคโนโลยี Transistor       
ทรานซิสเตอร์เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ที่นำมาใช้ในการสร้างคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารข้อมูลถูกสร้างขึ้นที่ห้องปฏิบัติการ Bell Laboratories
ปี พ.. 2494  เทคโนโลยี UNIVAC-I     
เป็นคอมพิวเตอร์ในเชิงพาณิชย์เครื่องแรกของโลกที่ถูกขายให้กับสำนักงานสำมะโนประชากรของประเทศสหรัฐอเมริกกา
ปี พ.. 2496  เทคโนโลยี UNIVAC-I     
เป็นคอมพิวเตอร์ในเชิงพาณิชย์เครื่องแรกของโลกที่ถูกขายให้กับบริษัทเอกชนคือบริษัท General Electric Research Park. U.S.A.
ปี พ.. 2501  เทคโนโลยี First U.S. Satellite 
ดาวเทียมดวงแรกที่ถูกสร้างขึ้นสู่วงโคจรเพื่อนำมาใช้สำหรับการสื่อสารข้อมูลโดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา
ปี พ..  2505  เทคโนโลยี  COMSAT     
บริษัทเอกชนแห่งแรกที่ดำเนินกิจการทางด้านการสื่อสารดาวเทียม
ปี พ..  2506  เทคโนโลยี  SYNCOM-II       
ดาวเทียมดวงแรกที่อยู่ในวงโคจรสถิต (จะบอยอยู่นิ่งอยู่กับที่เมื่อมองจากพื้นโลก) 
ปี พ..  2507  เทคโนโลยี  SABRE Network 
บริษัทไอบีเอ็ม ร่วมกับสายการบิน American Airline ร่วมกันพัฒนาระบบเครือข่ายการจองตั๋วเครื่องบิน
ปี พ..  2512  เทคโนโลยี  ARPANET
Advanced Research Project AgencyNetwork ได้รับการจัดตั้งขึ้นใช้งาน ซึ่งได้ทำให้เกิดระบบเครือข่ายอื่น ๆ ตามมาทั้งภาคการศึกษาและวิจัย
ปี พ..  2513  เทคโนโลยี  First Laser    
เป็นครั้งแรกที่ได้มีการพัฒนาลำแสงเลเซอร์ให้สามารถใช้งานได้ทั่วไป
ปี พ..  2514  เทคโนโลยี  E-mail         
 จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้ถูกคิดค้นขึ้นโดย Ray Tomlinson
ปี พ..  2515 เทคโนโลยี Ethernet     
บริษัท Xerox ได้สร้างมาตรฐานสำหรับการสื่อสารข้อมูลบน เครือข่ายเฉพาะบริเวณ (LAN) ขึ้นเป็นครั้งแรก
ปี พ..  2519  เทคโนโลยี  Personal  Computer 
ครั้งแรกที่มีการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
ปี พ..  2526  เทคโนโลยี  Internet       
ครั้งแรกที่ระบบอินเตอร์เนตได้เริ่มก่อตั้งขึ้น ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายของนานาชาติเข้าด้วยกัน
ปี พ..  2527  เทคโนโลยี  Gellular       
ระบบโทรศัพทร์ไร้สายแบบเซลลูล่าได้เข้ามาแทนที่ระบบโทรศัพท์ไร้สายแบบใช้คลื่นวิทยุ
ปี พ..  2533 เทคโนโลยี ARPANET Reorganization
เครือข่าย ARPANET ถูกยกเลิกและแทนที่ด้วยระบบเครือข่ายไร้สายในระดับชาติ
ปี พ..  2535  เทคโนโลยี ISDN Standard       
ได้มีการกำหนดมาตรฐานสำหรับการสื่อสารแบบ ISDN
ปี พ..  2535  เทคโนโลยี World Wide Web      
ระบบบริการแบบ WWW  ได้ถูกพัฒนาขึ้นใช้งานบนอินเทอร์เน็ต
ปี พ..  2537 เทคโนโลยี Internet         
มีคอมพิวเตอร์มากกว่า 2 ล้านเครื่องเชื่อมต่อเข้ากับระบบอินเทอร์เน็ต
ปี พ..  2540 เทคโนโลยี Internet     
มีผู้ใช้อินเทอร์เนตมากกว่า 50 ล้านคนทั่วโลกองค์กร NFS เริ่ม โครงการ Internet 2
ปี พ.. 2540 เทคโนโลยี 56 Kbps           
บริษัท US Robotics เริ่มจำหน่ายโมเด็มความเร็ว 56 Kbps
ปี พ.. 2541 เทคโนโลยี HDTV            
ในประเทศสหรัฐอเมริกาเริ่มจำหน่ายโทรทัศน์แบบ HDTV
ปี พ.. 2542 เทคโนโลย ISDN          
เครือข่ายสื่อสารดิจิทัลแบบรวมการ (Integrated Services  Digital)
ปี พ..  2543 เทคโนโลยี Wireless Technology  
ระบบสื่อสารแบบไร้สายเริ่มเข้ามามีส่วนแบ่งทางการตลาดมากขึ้น
ปี พ..  2545 เทคโนโลยี Broadband Access 
ระบบการสื่อสารแบบ Broadband ซึ่งเป็นระบบเครือข่ายสื่อสารความเร็วสูงมาก เริ่มเข้ามาใช้งานจะเห็นได้ว่าความเป็นมาของการสื่อสารข้อมูลจะเริ่มการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โทรเลข ซึ่งเป็นการส่งข้อความต่อมาก็มีการพัฒนาเป็นโทรศัพท์และโทรพิมพ์ จนกระทั่งเป็นระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายไร้สาย



   


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น